งานชิ้นที่ 5



รายงานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง
การปรับพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนให้ตรงต่อเวลาโดยการ
ใช้สัญญาการเรียนกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/6









นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน









โรงเรียนทุ่งสงวิทยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต  12



ชื่อเรื่อง  การปรับพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนให้ตรงต่อเวลาโดยการใช้สัญญาการเรียนกับนักเรียนชั้น
            มัธยมศึกษาปีที่  1/6
ชื่อผู้วิจัย                  นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน
ความเป็นมาของการวิจัย
            เนื่องจากการจัดการเรียนการสอนของนักเรียนโรงเรียนทุ่งสงวิทยา  เป็นแบบเดินเรียนทำให้นักเรียนแต่ละห้องต้องเดินจากอาคารหนึ่งไปยังอาคารหนึ่ง  ซึ่งเสียเวลาในการเรียนไปประมาณ  นาที  แต่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/6  หลังจากที่อาจารย์ปล่อยแล้วก็มักจะเดินเล่นอย่างช้า  ไม่สนใจว่าเวลาจะผ่านไปแล้วกี่นาที  จึงได้ตั้งกติกาการเข้าเรียนกับนักเรียนและให้นักเรียนเป็นผู้เสนอว่าจะทำสัญญาในการเรียนรายวิชานี้ว่าอย่างไร  การทำสัญญาการเรียนการสอนที่นักเรียนเป็นผู้ตั้งเองทำให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนมากขึ้น

วัตถุประสงค์
การปรับพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนให้ตรงต่อเวลาโดยการใช้สัญญาการเรียนกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/6
วิธีการดำเนินวิจัย
                กลุ่มเป้าหมาย
                                กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย  คือ  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/6  โรงเรียนทุ่งสงวิทยา
                เครื่องมือในการวิจัย
1.             สัญญาการเรียน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.             ตกลงสัญญาการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/6
2.             สังเกตการปฏิบัติตนตามสัญญาที่ตกลงกันไว้
ผลการวิจัย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/6  ตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนมาขึ้น  นักเรียนรู้จักการรักษาสัญญาที่ทำไว้

ข้อเสนอแนะ
1.             ควรนำไปปรับใช้กับการเรียนการสอนในทุกรายวิชา
2.             ให้นักเรียนเป็นผู้เสนอเงื่อนไขของสัญญาเอง


รายชื่อนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/6

1
11632
เด็กชายก้องเกียรติ                ปานแก้ว
2
11633
เด็กชายโชคอนันต์               ฉิมปากแพรก
3
11634
เด็กชายณัฐภัทร                    นาคินทร์
4
11635
เด็กชายทรงวุฒิ                     พนังศรี
5
11636
เด็กชายธนวัฒน์                    จิตต์เพ็ง
6
11637
เด็กชายธนากร                      เทพี
7
11638
เด็กชายธีรภัทร์                     ยมพมาศ
8
11639
เด็กชายปิยโชค                     กิจแก้ว
9
11640
เด็กชายพงศกร                    อ่อนจันทร์
10
11641
เด็กชายพศวีร์                       ธาระเนตร
11
11642
เด็กชายพีรณัฐ                      หนูราม
12
11643
เด็กชายเพชรรัตน์               แก้วจันทร์
13
11644
เด็กชายมนตรี                      เทพมาศ
14
11645
เด็กชายราชวัฒน์                พรหมเกิด
15
11646
เด็กชายวรเมธ                     จินดาพันธ์
16
11647
เด็กชายวายุศิลป                  สิทธิพงษ์
17
11648
เด็กชายศกุนต์                     ธารเนตร
18
11649
เด็กชายสิทธิพร                 วุฒิวงศ์
19
11650
เด็กชายเสกสรร                 เรืองศรี
20
11651
เด็กชายอภิชิต                    เจ้ยทอง
21
11652
เด็กหญิงกมลวรรณ           ศรีสุข
22
11653
เด็กหญิงกัณฐิกา               รัตนคช
23
11654
เด็กหญิงกัลยาณี                ตุมานิล
24
11655
เด็กหญิงจุฑามาศ              บัวบาน
25
11656
เด็กหญิงทัศวรรณ            สุขอนันต์
26
11657
เด็กหญิงทิพวรรณ           บุญเดช
27
11658
เด็กหญิงธัญญาพร           วัชสังค์
28
11659
เด็กหญิงบุปผา                 เทพคง
29
11660
เด็กหญิงปิยะพร               ดาวัลย์
30
11661
เด็กหญิงฟาริดา              สุวรรณเปล่ง
31
11662
เด็กหญิงวันวิสาข์           กล้าปราบโจร
32
11663
เด็กหญิงสุพรรษา           ไชยสงคราม
33
11664
เด็กหญิงอวัศยา                กลีบแก้ว







รายงานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง








นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน









โรงเรียนทุ่งสงวิทยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต  12




            ร่วมแรงร่วมใจ
ชื่อผู้วิจัย                  นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน
ความเป็นมาของการวิจัย
            จากการที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้จัดการเรียนการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/4  และได้มอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดเพื่อเป็นการทบทวนความรู้ความเข้าใจในการเรียนในคาบนั้นๆ  พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/4   ไม่ได้ส่งสมุดแบบฝึกหัด  การขาดความรับผิดชอบในหน้าที่ของนักเรียนทำให้นักเรียนไม่สามารถทบทวนเนื้อหาที่เรียนได้  จึงใช้วิธีการโดยการสอนแบบร่วมแรงร่วมใจ  เพื่อให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อการเรียนมากขึ้น

วัตถุประสงค์

วิธีการดำเนินวิจัย
                กลุ่มเป้าหมาย
                                กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย  คือ  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/4  โรงเรียนทุ่งสงวิทยา
                เครื่องมือในการวิจัย
1.             การสอนแบบร่วมมือร่วมใจ
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.             ศึกษาการสอนแบบร่วมมือร่วมใจ  ประโยชน์  ข้อดีและข้อเสียของการสอนแบบนี้
2.             นำไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/4  
3.             สังเกตและประเมินผลตามสภาพจริง
ผลการวิจัย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/4  มีความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติหน้าที่ของตนเองมากยิ่งขึ้น

ข้อเสนอแนะ
1.             ควรนำไปปรับใช้กับการเรียนการสอนในทุกรายวิชา
2.             ควรหาวิธีการสอนที่หลากหลายมากขึ้น



รายชื่อนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/4

1
11563
เด็กชายก้องศักดิ์         เพชรคงทอง
2
11564
เด็กชายไกรศร           งามสันเทียะ
3
11565
เด็กชายฆนากร          แก้วแท้
4
11566
เด็กชายณัฐวุฒิ            สมศรี
5
11567
เด็กชายทวี                 อักษรไทย
6
11568
เด็กชายธนากร           สังข์ดี
7
11569
เด็กชายธนาวุฒิ           ขนุนอ่อน
8
11570
เด็กชายธนาวุฒิ           รักการ
9
11571
เด็กชายนนทวัฒน์      หนูไพยัน
10
11572
เด็กชายนราธร           สุวรรณมณี
11
11573
เด็กชายปฐมพร          หนูวงศ์
12
11574
เด็กชายปิยะวัฒน์        สมทรง
13
11575
เด็กชายพีรพล           พลสามาต
14
11576
เด็กชายยศภัทร          ทองกระจ่าง
15
11577
เด็กชายรัฐศาสตร์       ชุมวงศ์
16
11578
เด็กชายศตวรรษ         ธนาวุฒิ
17
11579
เด็กชายสุริยา              ช่วยรักษา
18
11580
เด็กชายอนุชา             รัตน์จันทร์
19
11581
เด็กชายอนุวัฒน์         ชนะคช
20
11582
เด็กหญิงกนิษฐา          สีใส
21
11583
เด็กหญิงคณิตฐา          ไหมละเอียด
22
11584
เด็กหญิงจุฑามาศ         บัวบาน
23
11585
เด็กหญิงชนิษฐา           ไพจิตรจินดา
24
11586
เด็กหญิงชลฎา              ไก่แก้ว
25
11587
เด็กหญิงญาลิตา           สุขอนันต์
26
11588
เด็กหญิงฐิติยา              กลีบแก้ว
27
11589
เด็กหญิงปัญจมาภรณ์   พรมศร
28
11590
เด็กหญิงปัทมพร          มาส่ง
29
11591
เด็กหญิงพัชราภรณ์     ศรีจันทร์
30
11592
เด็กหญิงพัชรี                ยืนยัน
31
11593
เด็กหญิงศุภากรณ์         เดี่ยวพันธ์
32
11594
เด็กหญิงสุภาวดี           พิมพ์ศรี
33
11595
เด็กหญิงสุมินตรา         ใจสว่าง
34
11596
เด็กหญิงอภิญญา         สังขโชติ






รายงานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง
การพัฒนาคุณลักษณะการเห็นคุณค่าในตนเอง
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  โดยวิธีการเพื่อนช่วยเพื่อน








นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน









โรงเรียนทุ่งสงวิทยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต  12




ชื่อเรื่อง  การพัฒนาคุณลักษณะการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  โดยวิธีการเพื่อน
                ช่วยเพื่อน
ชื่อผู้วิจัย                  นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน
ความเป็นมาของการวิจัย
            จากการที่ได้ฝึกประสบการณ์ที่โรงเรียนทุ่งสงวิทยาพบว่า  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ขาดความเห็นคุณค่าในตนเอง  ไม่เชื่อว่าตนเองสามารถทำงานต่างๆ ได้  เนื่องจากเป้นน้องใหม่ของโรงเรียน  ไม่กล้าที่จะแสดงออกว่าตนเองก็มีคุณค่าในตนเองเหมือนกัน  จึงเลือกใช้วิธีเพื่อนช่วยเพื่อน  คือให้เพื่อนช่วยเหลือตนเองในการทำงาน  เมื่องานเสร็จนักเรียนก็จะมีความรู้สึกว่าตนเองก็สามารถทำงานต่างๆ เหมือนเพื่อนได้  ตนเองก็มีความสำคัญกับงานเหมือนกัน  นักเรียนก็จะเห็นคุณค่าในตัวของนักเรียนเอง

วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาคุณลักษณะการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  โดยวิธีการเพื่อน
ช่วยเพื่อน
วิธีการดำเนินวิจัย
                กลุ่มเป้าหมาย
                                กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย  คือ  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1  โรงเรียนทุ่งสงวิทยา  อำเภอทุ่งสง  จังหวัดนครศรีธรรมราช
เครื่องมือในการวิจัย
1.             แบบสังเกต
2.             กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนเห็นคุณค่าของตนเอง
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.             นำนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ช่วยกันคิดหากิจกรรมมาห้องละ  อย่าง
2.             ให้นักเรียนช่วยกันซ้อมกิจกรรม
3.             ให้นักเรียนนำกิจกรรมที่ช่วยกันซ้อมมานำเสนอให้พี่ดู  ในคาบประชุมรวมของโรงเรียน
4.             ประเมินผลตามสภาพจริง
ผลการวิจัย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1  สามารถเห็นคุณค่าของตนเองมากขึ้น

ข้อเสนอแนะ
1.             ควรสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
2.             ครูผู้สอนควรให้แรงเสริมอย่างต่อเนื่อง




รายงานวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยวิธีการจับคู่ดูแลกัน
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/4  - 1/6








นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน









โรงเรียนทุ่งสงวิทยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต  12





ชื่อเรื่อง  การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยวิธีการจับคู่ดูแลกันของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/4  - 1/6
ชื่อผู้วิจัย                  นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน
ความเป็นมาของการวิจัย
            จากการที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้จัดการเรียนการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  และได้ทดสอบจากรายจุดประสงค์พบว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ  จึงคิดหาวิธีในการดูแลและช่วยเหลือนักเรียนเพื่อให้มีความสนใจในการเรียนมากขึ้น  จึงเลือกใช้วิธีการให้นักเรียนจับคู่ดูแลกัน  โดยมีเงื่อนไขว่าในการจับคู่ของนักเรียนนั้น  จะต้องเลือกจับคู่จากนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่อยู่ในเกณฑ์ที่ดีกับนักเรียนที่อยู่ในเกณฑ์การเรียนที่ต่ำ  ประโยชน์ของการจับคู่กันเรียน  คือ  นักเรียนรู้จักช่วยเหลือกันทำงาน  เรียน  นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนเนื่องจากมีเพื่อนที่ควรช่วยเหลือ  เป็นที่ปรึกษาอยู่ตลอดเวลา

วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยวิธีการจับคู่ดูแลกันของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/4  - 1/6
วิธีการดำเนินวิจัย
                กลุ่มเป้าหมาย
                                กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย  คือ  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/4   -  1/6  โรงเรียนทุ่งสงวิทยา         เครื่องมือในการวิจัย
1.             แบบทดสอบรายจุดประสงค์
2.             แบบบันทึกคะแนน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.             นำคะแนนการสอบรายจุดประสงค์มาแบ่งกลุ่มของนักเรียนเป็น  กลุ่ม  คือ  กลุ่มนักเรียนที่มีผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดี  และกลุ่มนักเรียนที่มีผลการเรียนอ่อน
2.             ให้นักเรียนจับคู่ด้วยตนเอง
3.             สังเกตการณ์ทำงาน  การเรียน  ของแต่ละคู่  หากพบปัญหาจะเข้าไปให้ความช่วยเหลือ
4.             ประเมินผลตามสภาพจริง
ผลการวิจัย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/4  - 1/6     มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมากขึ้น




ข้อเสนอแนะ
1.             ควรนำไปปรับใช้กับทุกรายวิชา
2.             ควรสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
3.             หาแบบฝึกทักษะที่หลากหลายให้นักเรียนทำ
4.             หากพบปัญหาครูควรให้ความช่วยเหลือ  และชี้แนะทันที่
5.             ต้องแน่ใจว่าการเลือกคู่ของนักเรียนถูกต้อง
6.             ครูผู้สอนควรให้แรงเสริมอย่างต่อเนื่อง


รายชื่อนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/4

1
11563
เด็กชายก้องศักดิ์         เพชรคงทอง
2
11564
เด็กชายไกรศร           งามสันเทียะ
3
11565
เด็กชายฆนากร          แก้วแท้
4
11566
เด็กชายณัฐวุฒิ            สมศรี
5
11567
เด็กชายทวี                 อักษรไทย
6
11568
เด็กชายธนากร           สังข์ดี
7
11569
เด็กชายธนาวุฒิ           ขนุนอ่อน
8
11570
เด็กชายธนาวุฒิ           รักการ
9
11571
เด็กชายนนทวัฒน์      หนูไพยัน
10
11572
เด็กชายนราธร           สุวรรณมณี
11
11573
เด็กชายปฐมพร          หนูวงศ์
12
11574
เด็กชายปิยะวัฒน์        สมทรง
13
11575
เด็กชายพีรพล           พลสามาต
14
11576
เด็กชายยศภัทร          ทองกระจ่าง
15
11577
เด็กชายรัฐศาสตร์       ชุมวงศ์
16
11578
เด็กชายศตวรรษ         ธนาวุฒิ
17
11579
เด็กชายสุริยา              ช่วยรักษา
18
11580
เด็กชายอนุชา             รัตน์จันทร์
19
11581
เด็กชายอนุวัฒน์         ชนะคช
20
11582
เด็กหญิงกนิษฐา          สีใส
21
11583
เด็กหญิงคณิตฐา          ไหมละเอียด
22
11584
เด็กหญิงจุฑามาศ         บัวบาน
23
11585
เด็กหญิงชนิษฐา           ไพจิตรจินดา
24
11586
เด็กหญิงชลฎา              ไก่แก้ว
25
11587
เด็กหญิงญาลิตา           สุขอนันต์
26
11588
เด็กหญิงฐิติยา              กลีบแก้ว
27
11589
เด็กหญิงปัญจมาภรณ์   พรมศร
28
11590
เด็กหญิงปัทมพร          มาส่ง
29
11591
เด็กหญิงพัชราภรณ์     ศรีจันทร์
30
11592
เด็กหญิงพัชรี                ยืนยัน
31
11593
เด็กหญิงศุภากรณ์         เดี่ยวพันธ์
32
11594
เด็กหญิงสุภาวดี           พิมพ์ศรี
33
11595
เด็กหญิงสุมินตรา         ใจสว่าง
34
11596
เด็กหญิงอภิญญา         สังขโชติ

รายชื่อนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/5

1
11597
เด็กชายกิตติพงศ์               เดชารัตน์
2
11598
เด็กชายกิตติพงษ์             กุญชรินทร์
3
11599
เด็กชายกิตติศักดิ์             มากประเสิรฐ
4
11600
เด็กชายฉัตรทอง              ถือทอง
5
11601
เด็กชายณรงค์ศักดิ์           พัฒแก้ว
6
11602
เด็กชายธนานนท์           นาคแก้ว
7
11603
เด็กชายธนาวุฒิ               เชาว์ช่างเหล็ก
8
11604
เด็กชายธนาวุฒิ              ร่มเย็น
9
11605
เด็กชายธีรเดช                รัตนมณี
10
11606
เด็กชายนัฐวุฒิ                 หมื่นศรี
11
11607
เด็กชายนัทธพงค์            ปานจีน
12
11608
เด็กชายพีรพงค์             กลีบแก้ว
13
11609
เด็กชายภูมิภัทร             หมวดมณี
14
11610
เด็กชายมนชัย               สงศิริ
15
11611
เด็กชายวัชรากร            คงเรือง
16
11612
เด็กชายวุฒิพงศ์            สุขเกษม
17
11613
เด็กชายสหรัฐ               รัตนบุรี
18
11614
เด็กชายสิทธิชัย             จันทร์งาม
19
11615
เด็กชายสุพจน์               แปลงดี
20
11616
เด็กชายสุรดิษ               ทองตรี
21
11617
เด็กชายอติเทพ             สองภักดี
22
11618
เด็กชายอภิชา               แก้วไทย
23
11619
เด็กหญิงเกณิกา           หมวดเมือง
24
11620
เด็กหญิงชนันทร          เมรุรัตน์
25
11621
เด็กหญิงเดช                 ชูบัว
26
11622
เด็กหญิงธันยรัตน์         กุญชรินทร์
27
11623
เด็กหญิงธิดารัตน์         คำแหง
28
11624
เด็กหญิงนันทิกานต์     อิ่มประพันธ์
29
11625
เด็กหญิงนิภาพร           พัทักพิเศษ
30
11626
เด็กหญิงปัทมา             คำแหง
31
11627
เด็กหญิง พัชราภรณ์      พาหิรัญ
32
11628
เด็กหญิงมณีรัตน์         เพ็ชรแก้ว
33
11629
เด็กหญิงศิริรัตน์          หอมชื่น
34
11630
เด็กหญิงสุธีธิดา          กุญชรินทร์
35
11631
เด็กหญิงสุวิมล           รักกมล


เด็กหญิงอรทัย           บัวทอง
รายชื่อนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/6

1
11632
เด็กชายก้องเกียรติ                ปานแก้ว
2
11633
เด็กชายโชคอนันต์               ฉิมปากแพรก
3
11634
เด็กชายณัฐภัทร                    นาคินทร์
4
11635
เด็กชายทรงวุฒิ                     พนังศรี
5
11636
เด็กชายธนวัฒน์                    จิตต์เพ็ง
6
11637
เด็กชายธนากร                      เทพี
7
11638
เด็กชายธีรภัทร์                     ยมพมาศ
8
11639
เด็กชายปิยโชค                     กิจแก้ว
9
11640
เด็กชายพงศกร                    อ่อนจันทร์
10
11641
เด็กชายพศวีร์                       ธาระเนตร
11
11642
เด็กชายพีรณัฐ                      หนูราม
12
11643
เด็กชายเพชรรัตน์               แก้วจันทร์
13
11644
เด็กชายมนตรี                      เทพมาศ
14
11645
เด็กชายราชวัฒน์                พรหมเกิด
15
11646
เด็กชายวรเมธ                     จินดาพันธ์
16
11647
เด็กชายวายุศิลป                  สิทธิพงษ์
17
11648
เด็กชายศกุนต์                     ธารเนตร
18
11649
เด็กชายสิทธิพร                 วุฒิวงศ์
19
11650
เด็กชายเสกสรร                 เรืองศรี
20
11651
เด็กชายอภิชิต                    เจ้ยทอง
21
11652
เด็กหญิงกมลวรรณ           ศรีสุข
22
11653
เด็กหญิงกัณฐิกา               รัตนคช
23
11654
เด็กหญิงกัลยาณี                ตุมานิล
24
11655
เด็กหญิงจุฑามาศ              บัวบาน
25
11656
เด็กหญิงทัศวรรณ            สุขอนันต์
26
11657
เด็กหญิงทิพวรรณ           บุญเดช
27
11658
เด็กหญิงธัญญาพร           วัชสังค์
28
11659
เด็กหญิงบุปผา                 เทพคง
29
11660
เด็กหญิงปิยะพร               ดาวัลย์
30
11661
เด็กหญิงฟาริดา              สุวรรณเปล่ง
31
11662
เด็กหญิงวันวิสาข์           กล้าปราบโจร
32
11663
เด็กหญิงสุพรรษา           ไชยสงคราม
33
11664
เด็กหญิงอวัศยา                กลีบแก้ว






รายงานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง
การปรับพฤติกรรมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/4  - 1/6
ที่ท่องสูตรคูณไม่ได้โดยการท่องสูตรคูณก่อนเรียน








นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน









โรงเรียนทุ่งสงวิทยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต  12





ชื่อเรื่อง  การปรับพฤติกรรมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/4  - 1/6  ที่ท่องสูตรคูณไม่ได้โดยการท่องสูตรคูณ
                ก่อนเรียน
ชื่อผู้วิจัย                  นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน
ความเป็นมาของการวิจัย
            จากการที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้สอนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน  (ค21101)  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ซึ่งต้องเป็นวิชาที่ต้องคำนวณ  คิดหาผลลัพธ์ของคำตอบ  ข้าพเจ้ากลับพบว่า  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/4 -  1/6  ไม่สามารถท่องสูตรคูณได้  ทำให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นไปได้ช้ากว่ากำหนด  เนื่องจากนักเรียนไม่สามารถหาคำตอบได้อย่างรวดเร็ว  ข้าพเจ้าได้คิดหาวิธีในการให้นักเรียนท่องสูตรคูณได้คล่องขึ้น  โดยวิธีการให้นักเรียนท่องสูตรคูณก่อนเริ่มกิจกรรมการเรียนการสอน  ซึ่งประโยชน์ของการท่องสูตรคูณก่อนการเรียน  คือ 
1.             นักเรียนท่องสูตรคูณคล่องขึ้น 
2.             นักเรียนสามารถใช้สูตรคูณในการหาผลลัพธ์ได้ดีขึ้น
3.             ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีขึ้น

วัตถุประสงค์
                เพื่อปรับพฤติกรรมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/4  - 1/6  โรงเรียนทุ่งสงวิทยา  ที่ท่องสูตรคูณไม่ได้ เพื่อให้สามารถนำสูตรคูณไปใช้ในการเรียนการสอนได้ดีขึ้น  และมีประสิทธิภาพมากขึ้น

วิธีการดำเนินวิจัย
                กลุ่มเป้าหมาย
                                กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย  คือ  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/4   -  1/6  ภาคเรียนที่  1         ปีการศึกษา  2555  โรงเรียนทุ่งสงวิทยา  อำเภอทุ่งสง  จังหวัดนครศรีธรรมราช  จำนวน  102  คน
                เครื่องมือในการวิจัย
1.             สูตรคูณ
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.             ตกลงกติกาการเข้าเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์  ว่า  จะต้องท่องสูตรคูณก่อนเรียนทุกครั้ง  โดยในช่วงแรกสามารถให้นักเรียนดูสูตรคูณได้ก่อน  และเริ่มปรับมาเป็นการท่องเองโดยไม่ดูสูตรคูณ
2.             สังเกตการท่องสูตรคูณของนักเรียน
3.             ประเมินผลตาสภาพจริง
4.             วัดผลการเรียนเมื้อสิ้นภาคเรียน


ผลการวิจัย
นักเรียนสามารถนำประโยชน์จากการท่องสูตรคูณไปปรับใช้กับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน  และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้
ข้อเสนอแนะ
1.             ครูผู้สอนต้องคอยติดตามดูแลอย่างต่อเนื่อง
2.             ครูผู้สอนต้องคอยให้แรงเสริมแก่นักเรียนอย่างต่อเนื่อง
3.             ควรนำไปปรับใช้กับการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ในทุกระดับชั้น



รายชื่อนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/4

1
11563
เด็กชายก้องศักดิ์         เพชรคงทอง
2
11564
เด็กชายไกรศร           งามสันเทียะ
3
11565
เด็กชายฆนากร          แก้วแท้
4
11566
เด็กชายณัฐวุฒิ            สมศรี
5
11567
เด็กชายทวี                 อักษรไทย
6
11568
เด็กชายธนากร           สังข์ดี
7
11569
เด็กชายธนาวุฒิ           ขนุนอ่อน
8
11570
เด็กชายธนาวุฒิ           รักการ
9
11571
เด็กชายนนทวัฒน์      หนูไพยัน
10
11572
เด็กชายนราธร           สุวรรณมณี
11
11573
เด็กชายปฐมพร          หนูวงศ์
12
11574
เด็กชายปิยะวัฒน์        สมทรง
13
11575
เด็กชายพีรพล           พลสามาต
14
11576
เด็กชายยศภัทร          ทองกระจ่าง
15
11577
เด็กชายรัฐศาสตร์       ชุมวงศ์
16
11578
เด็กชายศตวรรษ         ธนาวุฒิ
17
11579
เด็กชายสุริยา              ช่วยรักษา
18
11580
เด็กชายอนุชา             รัตน์จันทร์
19
11581
เด็กชายอนุวัฒน์         ชนะคช
20
11582
เด็กหญิงกนิษฐา          สีใส
21
11583
เด็กหญิงคณิตฐา          ไหมละเอียด
22
11584
เด็กหญิงจุฑามาศ         บัวบาน
23
11585
เด็กหญิงชนิษฐา           ไพจิตรจินดา
24
11586
เด็กหญิงชลฎา              ไก่แก้ว
25
11587
เด็กหญิงญาลิตา           สุขอนันต์
26
11588
เด็กหญิงฐิติยา              กลีบแก้ว
27
11589
เด็กหญิงปัญจมาภรณ์   พรมศร
28
11590
เด็กหญิงปัทมพร          มาส่ง
29
11591
เด็กหญิงพัชราภรณ์     ศรีจันทร์
30
11592
เด็กหญิงพัชรี                ยืนยัน
31
11593
เด็กหญิงศุภากรณ์         เดี่ยวพันธ์
32
11594
เด็กหญิงสุภาวดี           พิมพ์ศรี
33
11595
เด็กหญิงสุมินตรา         ใจสว่าง
34
11596
เด็กหญิงอภิญญา         สังขโชติ

รายชื่อนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/5

1
11597
เด็กชายกิตติพงศ์               เดชารัตน์
2
11598
เด็กชายกิตติพงษ์             กุญชรินทร์
3
11599
เด็กชายกิตติศักดิ์             มากประเสิรฐ
4
11600
เด็กชายฉัตรทอง              ถือทอง
5
11601
เด็กชายณรงค์ศักดิ์           พัฒแก้ว
6
11602
เด็กชายธนานนท์           นาคแก้ว
7
11603
เด็กชายธนาวุฒิ               เชาว์ช่างเหล็ก
8
11604
เด็กชายธนาวุฒิ              ร่มเย็น
9
11605
เด็กชายธีรเดช                รัตนมณี
10
11606
เด็กชายนัฐวุฒิ                 หมื่นศรี
11
11607
เด็กชายนัทธพงค์            ปานจีน
12
11608
เด็กชายพีรพงค์             กลีบแก้ว
13
11609
เด็กชายภูมิภัทร             หมวดมณี
14
11610
เด็กชายมนชัย               สงศิริ
15
11611
เด็กชายวัชรากร            คงเรือง
16
11612
เด็กชายวุฒิพงศ์            สุขเกษม
17
11613
เด็กชายสหรัฐ               รัตนบุรี
18
11614
เด็กชายสิทธิชัย             จันทร์งาม
19
11615
เด็กชายสุพจน์               แปลงดี
20
11616
เด็กชายสุรดิษ               ทองตรี
21
11617
เด็กชายอติเทพ             สองภักดี
22
11618
เด็กชายอภิชา               แก้วไทย
23
11619
เด็กหญิงเกณิกา           หมวดเมือง
24
11620
เด็กหญิงชนันทร          เมรุรัตน์
25
11621
เด็กหญิงเดช                 ชูบัว
26
11622
เด็กหญิงธันยรัตน์         กุญชรินทร์
27
11623
เด็กหญิงธิดารัตน์         คำแหง
28
11624
เด็กหญิงนันทิกานต์     อิ่มประพันธ์
29
11625
เด็กหญิงนิภาพร           พัทักพิเศษ
30
11626
เด็กหญิงปัทมา             คำแหง
31
11627
เด็กหญิง พัชราภรณ์      พาหิรัญ
32
11628
เด็กหญิงมณีรัตน์         เพ็ชรแก้ว
33
11629
เด็กหญิงศิริรัตน์          หอมชื่น
34
11630
เด็กหญิงสุธีธิดา          กุญชรินทร์
35
11631
เด็กหญิงสุวิมล           รักกมล


เด็กหญิงอรทัย           บัวทอง
รายชื่อนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/6

1
11632
เด็กชายก้องเกียรติ                ปานแก้ว
2
11633
เด็กชายโชคอนันต์               ฉิมปากแพรก
3
11634
เด็กชายณัฐภัทร                    นาคินทร์
4
11635
เด็กชายทรงวุฒิ                     พนังศรี
5
11636
เด็กชายธนวัฒน์                    จิตต์เพ็ง
6
11637
เด็กชายธนากร                      เทพี
7
11638
เด็กชายธีรภัทร์                     ยมพมาศ
8
11639
เด็กชายปิยโชค                     กิจแก้ว
9
11640
เด็กชายพงศกร                    อ่อนจันทร์
10
11641
เด็กชายพศวีร์                       ธาระเนตร
11
11642
เด็กชายพีรณัฐ                      หนูราม
12
11643
เด็กชายเพชรรัตน์               แก้วจันทร์
13
11644
เด็กชายมนตรี                      เทพมาศ
14
11645
เด็กชายราชวัฒน์                พรหมเกิด
15
11646
เด็กชายวรเมธ                     จินดาพันธ์
16
11647
เด็กชายวายุศิลป                  สิทธิพงษ์
17
11648
เด็กชายศกุนต์                     ธารเนตร
18
11649
เด็กชายสิทธิพร                 วุฒิวงศ์
19
11650
เด็กชายเสกสรร                 เรืองศรี
20
11651
เด็กชายอภิชิต                    เจ้ยทอง
21
11652
เด็กหญิงกมลวรรณ           ศรีสุข
22
11653
เด็กหญิงกัณฐิกา               รัตนคช
23
11654
เด็กหญิงกัลยาณี                ตุมานิล
24
11655
เด็กหญิงจุฑามาศ              บัวบาน
25
11656
เด็กหญิงทัศวรรณ            สุขอนันต์
26
11657
เด็กหญิงทิพวรรณ           บุญเดช
27
11658
เด็กหญิงธัญญาพร           วัชสังค์
28
11659
เด็กหญิงบุปผา                 เทพคง
29
11660
เด็กหญิงปิยะพร               ดาวัลย์
30
11661
เด็กหญิงฟาริดา              สุวรรณเปล่ง
31
11662
เด็กหญิงวันวิสาข์           กล้าปราบโจร
32
11663
เด็กหญิงสุพรรษา           ไชยสงคราม
33
11664
เด็กหญิงอวัศยา                กลีบแก้ว





รายงานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง
การปรับพฤติกรรมของนักเรียนที่ชอบรังแกเพื่อนร่วมห้อง
โดยวิธีการทำงานเพื่อส่วนร่วม








นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน









โรงเรียนทุ่งสงวิทยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต  12





ชื่อเรื่อง  การปรับพฤติกรรมของนักเรียนที่ชอบรังแกเพื่อนร่วมห้องโดยวิธีการทำงานเพื่อส่วนร่วม
ชื่อผู้วิจัย                  นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน
ความเป็นมาของการวิจัย
            จากการที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้เป็นที่ปรึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2/3  พบว่านักเรียนห้องนี้ชอบรังแกนักเรียนร่วมห้องด้วยกัน  ชอบแกล้งเพื่อน  จึงใช้วิธีการให้นักเรียนรู้จักการทำงานเพื่อส่วนร่วม  ทำให้นักเรียนรู้จักที่จะเคารพเพื่อนร่วมงานด้วยกัน  รู้จักเกรงใจ  เพื่อที่จะให้งานออกมาดี

วัตถุประสงค์
การปรับพฤติกรรมของนักเรียนที่ชอบรังแกเพื่อนร่วมห้องโดยวิธีการทำงานเพื่อส่วนร่วม

วิธีการดำเนินวิจัย
                กลุ่มเป้าหมาย
                                กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย  คือ  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2/3  โรงเรียนทุ่งสงวิทยา
                เครื่องมือในการวิจัย
1.             การทำงานเพื่อส่วนร่วม
2.             แบบบันทึกพฤติกรรม
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.             ศึกษานักเรียนเป็นรายกรณี
2.             มอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนไปทำงานเพื่อส่วนร่วมร่วมกับเพื่อนนักเรียนอีก  6-7  คน
3.             ให้นักเรียนมารายงานตัวมาได้ทำงานเพื่อส่วนร่วมอย่างไรบ้าง
4.             สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแต่ละคน
5.             ประเมินผลตามสภาพจริง
ผลการวิจัย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2/3  รู้จักที่จะทำงานเพื่อส่วนร่วม  ไม่แกล้ง  ไม่รังแกเพื่อนที่อ่อนแกกว่า  รู้จักช่วยเพื่อนมนการทำงาน  กระบวนการทำงานกลุ่ม

ข้อเสนอแนะ
1.             ควรนำไปปรับใช้กับทุกห้อง
2.             ควรหาวิธีการสอนที่หลากหลายมากขึ้น
3.             ควรสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง





รายงานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง
การปรับพฤติกรรมของนักเรียนที่แต่งกายไม่เรียบร้อยโดยการพัฒนาโรงเรียน









นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน









โรงเรียนทุ่งสงวิทยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต  12






ชื่อเรื่อง  การปรับพฤติกรรมของนักเรียนที่แต่งกายไม่เรียบร้อยโดยการพัฒนาโรงเรียน
ชื่อผู้วิจัย                  นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน
ความเป็นมาของการวิจัย
            จากการที่ข้าพเจ้าได้มาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูที่โรงเรียนทุ่งสงวิทยา  ข้าพเจ้าพบว่านักเรียนบางส่วนแต่งกายไม่เรียบร้อย  คือ  เอาเสื้อไว้นอกกางเกง  ถุงเท้าพับสูง  กระโปรงสั้น  ทำให้ดูแล้วไม่เรียบร้อย  จึงปรับพฤติกรรมเหล่านี้โดยการให้นักเรียนทำการพัฒนาโรงเรียนให้น่าอยู่ยิ่งขึ้น  ซึ่งวิธีนี้ทำให้นักเรียนแต่งกายเรียบร้อยขึ้น 

วัตถุประสงค์
เพื่อปรับพฤติกรรมของนักเรียนโรงเรียนทุ่งสงวิทยาที่แต่งกายไม่เรียบร้อย

วิธีการดำเนินวิจัย
                กลุ่มเป้าหมาย
                                กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย  คือ  นักเรียนโรงเรียนทุ่งสงวิทยาที่แต่งกายไม่เรียบร้อย
                เครื่องมือในการวิจัย
1.             การปรับพฤติกรรมของนักเรียนโดยการพัฒนาโรงเรียน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.             เรียกนักเรียนที่แต่งกายไม่เรียบร้อยมาพบ  และให้กลับไปปรับปรุง
2.             ติดตามผลการปรับการแต่งกายของนักเรียน
3.             เรียกนักเรียนที่ยังไม่ปรับปรุงมาพบ  เพื่อตกลงการทำโทษโดยการพัฒนา
4.             สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนกลุ่มนั้นต่อไป
5.             ประเมินผลจากการจัดกิจกรรม
ผลการวิจัย
นักเรียนโรงเรียนทุ่งสงวิทยาแต่งกายเรียบร้อยขึ้น  เหมาะสมกับการแต่งกายแบบนักเรียน
ข้อเสนอแนะ
ครูควรติดตามผลการปรับพฤติกรรมของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง  และปรับปรุงพฤติกรรมของนักเรียนที่แต่งกายไม่เรียบร้อยอย่างเคร่งครัดเพื่อไม่ให้เป็นแบบอย่างกับเพื่อนนักเรียนคนอื่นๆ ต่อไป





รายงานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง
การปรับพฤติกรรมนักเรียนมีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
โดยการเล่นเกมส์คณิตศาสตร์









นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน









โรงเรียนทุ่งสงวิทยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต  12





ชื่อเรื่อง  การปรับพฤติกรรมนักเรียนมีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์โดยการเล่นเกมส์คณิตศาสตร์
ชื่อผู้วิจัย                  นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน
ความเป็นมาของการวิจัย
            จากการที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้สอนนักเรียนจัดมัธยมศึกษาปีที่  พบว่า  นักเรียนร้อยละ  70  ไม่ชอบเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์  เนื่องจากคิดว่าวิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่ยากต่อการรับรู้จากกนามธรรมให้เป็นรูปธรรม  คิดว่าเป็นเรื่องไกลตัว  จึงใช้วิธีการเล่นเกมส์คณิตศาสตร์มาใช้กับการจัดการเรียนการสอน  ทำให้นักเรียนพบว่าคณิตศาสตร์เป็นเรื่องใกล้ตัว  พวกเขาสามารถรับรู้ได้  และมีความสุขมากขึ้น  เกมส์ช่วยให้พวกเขาผ่อนคลายจากการเรียนมาตลอดทั้งวัน  เมื่อได้เล่นเกมส์พวกเขาก็จะรู้สึกว่าสนุกขึ้น  หลังจากนั้นก็จะสอดแทรกการเรียนการสอนเข้าไปในเกมส์  ทำให้นักเรียนรู้สึกรักและอยากเรียนวิชาคณิตศาสตร์มากขึ้น

วัตถุประสงค์
เพื่อปรับพฤติกรรมของนักเรียนที่มีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์  โดยการเล่นเกมส์คณิตศาสตร์

วิธีการดำเนินวิจัย
                กลุ่มเป้าหมาย
                                กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย  คือ  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ที่ไม่ชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 
                เครื่องมือในการวิจัย
1.             เกมส์คณิตศาสตร์
2.             แบบประเมินความพึงพอใจ
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.             ขอพบนักเรียนที่ไม่ชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์
2.             สอบถามนักเรียนถึงเหตุผลของการไม่ชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์
3.             หาเกมส์ทั่วไปมาเล่นกับนักเรียนก่อน  แล้วค่อยๆ เปลี่ยนมาเป็นเกมส์ที่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์
4.             สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
5.             ประเมินผลจากการจัดกิจกรรม
ผลการวิจัย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  รู้สึกรักและอยากเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์มากขึ้น

ข้อเสนอแนะ
1.             ควรนำไปปรับใช้กับการเรียนการสอนในทุกรายวิชา
2.             ให้โอกาสนักเรียนทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน





รายงานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง
การสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการส่งงาน  โดยการใช้สมุดสะสมคะแนน
ในวิชาคณิตศาสตร์  ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1








นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน









โรงเรียนทุ่งสงวิทยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต  12




ชื่อเรื่อง  การสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการส่งงานโดยการใช้สมุดสะสมคะแนนในวิชาคณิตศาสตร์ ของ
                นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1
ชื่อผู้วิจัย                  นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน
ความเป็นมาของการวิจัย
            จากการที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้จัดการเรียนการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ปัญหาในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชานี้  คือ  นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ส่งงาน  แบบฝึกหัด  แม้ว่าจะอธิบายถึงผลต่อการส่งงาน  การทำโทษไม่ใช่ทางออกที่ดีนัก  วิธีการที่เลือกใช้  คือ  การใช้สมุดสะสมคะแนน  คือจะให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดแล้วถ้าใครนำมาส่งก็จะบันทึกคะแนนให้ครั้งละ  คะแนน  นักเรียนก็จะมีความกระตือรือร้นในการทำงานมาขึ้น  สามารถทำแบบทดสอบได้มากขึ้น  ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

วัตถุประสงค์
เพื่อสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการส่งงานโดยการใช้สมุดสะสมคะแนนในวิชาคณิตศาสตร์  ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1
วิธีการดำเนินวิจัย
                กลุ่มเป้าหมาย
                                กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย  คือ  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  โรงเรียนทุ่งสงวิทยา           เครื่องมือในการวิจัย
1.             แบบฝึกทักษะ
2.             แบบบันทึกคะแนน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.             ตั้งกติกาการส่งงานกับนักเรียน
2.             สังเกตการณ์ส่งงานของนักเรียน  โดยเริ่มจากการสั่งแบบฝึกหัดจากจำนวนข้อที่น้อยๆ ก่อน  จากนั้นก็เริ่มเพิ่มจำนวนข้อขึ้น
3.             บันทึกคะแนนจากการส่งงาน
4.             ประเมินผลตามสภาพจริง
ผลการวิจัย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  มีความกระตือรือร้นในการส่งงานมากขึ้น  ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้น


ข้อเสนอแนะ
1.             ควรนำไปปรับใช้กับทุกรายวิชา
2.             ควรหาวิธีการสอนที่หลากหลายมากขึ้น
3.             ควรสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
4.             หาแบบฝึกทักษะที่หลากหลายให้นักเรียนทำ




รายงานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง
การแก้ปัญหานักเรียนที่ขาดทักษะเรื่องระบบจำนวนเต็ม
โดยวิธีการสอนซ่อมเสริม








นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน









โรงเรียนทุ่งสงวิทยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต  12




ชื่อเรื่อง  การแก้ปัญหานักเรียนที่ขาดทักษะเรื่องระบบจำนวนเต็มโดยวิธีการสอนซ่อมเสริม
ชื่อผู้วิจัย                  นางสาวปิยวรรณ  ทองจีน
ความเป็นมาของการวิจัย
            จากการที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้จัดการเรียนการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ในหน่วยการเรียนรู้ที่  เรื่องระบบจำนวนเต็ม  นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในเกณฑ์ที่ต่ำ  จึงสอบถามนักเรียนจึงทราบว่านักเรียนยังไม่เข้าใจในระบบจำนวนเต็มอยู่  จึงใช้วิธีการสอนซ่อมเสริมเพื่อช่วยให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการเรียนเรื่องนี้มายิ่งขึ้น  โดยตอนเที่ยงทุกเที่ยงได้ให้นักเรียนขึ้นมา  การสอนซ่อมเสริมทำให้นักเรียนได้สอบถามในข้อที่สงสัย  เนื่องจากในคาบเรียนไม่กล้าถาม  นักเรียนมีความเข้าใจมากยิ่งขึ้น  และเป็นการสร้างสัมพันธ์ที่ดีกับนักเรียนได้อีกด้วย

วัตถุประสงค์
เพื่อแก้ปัญหานักเรียนที่ขาดทักษะเรื่องระบบจำนวนเต็มโดยวิธีการสอนซ่อมเสริม

วิธีการดำเนินวิจัย
                กลุ่มเป้าหมาย
                                กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย  คือ  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  โรงเรียนทุ่งสงวิทยา  ที่ยังไม่เข้าใจใจเรื่องระบบจำนวนเต็ม
                เครื่องมือในการวิจัย
1.             แบบฝึกทักษะ
2.             แบบบันทึกคะแนน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.             สังเกตคะแนนจากการสอบวัดรายจุดประสงค์
2.             สอนซ่อมเสริมนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน
3.             ให้นักเรียนฝึกทำแบบฝึกทักษะ
4.             สังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
5.             ประเมินผลตามสภาพจริง
ผลการวิจัย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  มีความรู้ความเข้าใจในหน่วยการเรียนรู้ที่  เรื่องระบบจำนวนเต็มมากยิ่งขึ้น  และนักเรียนรู้สึกไว้ใจละกล้าที่จะถามมากยิ่งขึ้น



ข้อเสนอแนะ
1.             ควรนำไปปรับใช้กับทุกรายวิชา
2.             ควรหาวิธีการสอนที่หลากหลายมากขึ้น
3.             ควรสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
4.             หาแบบฝึกทักษะที่หลากหลายให้นักเรียนทำ
















































ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น